Laravel ติดตั้ง, Config, ใช้งาน Authentication, ใช้กับ AdminLTE Template

20 เม.ย. 2020 , 9,442 Views   , หมวดหมู่ Laravel ทุกหมวดหมู่ โค๊ดดิ้ง   , ป้ายกำกับ:, , , ,


โฟลเดอร์และไฟล์

  • app เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บไฟล์จำพวก Model หรือ Controller ที่ใช้ในการประมวลผลและติดต่อกับฐานข้อมูล
  • database เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บไฟล์จำพวก Migrations และ Seeding เพื่อใช้ในการสร้าง Table หรือใส่ข้อมูลในฐานข้อมูลผ่านคำสั่ง “artisan” ของ laravel
  • public ใช้เก็บพวก Javascript, CSS รวมไปถึง File index และ .htaccess ทุกส่วนสามารถเข้าถึงได้เป็นตัวจัดการไฟล์แบบสาธารณะนั้นเอง
  • resources ใช้เก็บโฟลเดอร์ที่ใช้ในส่วนของการแสดงผลต่าง ๆ (Views และส่วนที่เกี่ยวข้อง ฯ)
  • routes เป็นส่วนที่ใช้เก็บไฟล์ในการกำหนด Url ของ web (File routes)
  • storage เป็นส่วนของคลังพื้นที่จัดเก็บข้อมูลตระกูล Session, caches หรือไฟล์ที่ถูกทาง blade engine ทำการ compiled มาแล้ว
  • tests เป็นส่วนที่ใช้จัดการพวก automated tests เช่น unit test
  • ไฟล์ .env เป็นไฟล์ที่ใช้ config laravel กับ ฐานข้อมูล

จุดเด่นหลัก ๆ คือ ?

  • ส่วนขยายของ Laravel ที่ชื่อว่า Bundle ซึ่งช่วยให้ประหยัดเวลาในการเขียน Code ลงเป็นอย่างมากโดยใช้คำสั่งผ่าน Command Line ในการติดตั้งผ่านคำสั่ง “php artisan” แทน
  • การเรียกใช้งานคลาสต่าง ๆ ที่ง่ายขึ้นเพราะ Laravel เรียกใช้งานคลาสโดย Name Space โดยคำสั่งที่สั้นและเข้าใจง่าย
  • Unit testing สามารถสร้าง Unit test ขึ้นมาเพื่อทดสอบงานของตัวเองได้ โดยสร้างผ่านชุดคำสั่ง “artisan” สามารถดูคำสั่งได้จาก Testing: Getting Started
  • Eloquent ORM ชุดคำสั่งหรือเครื่องมือในการ Query ข้อมูลต่าง ๆ ในฐานข้อมูลสามารถดูคำสั่งได้จาก DatabasesQuery
  • Routing สามารถกำหนดชื่อของ Url เพื่อชี้ไปยังส่วนต่าง ๆ เช่น View หรือ Controller ตามที่ต้องการได้คำสั่งอ่านและเข้าใจง่ายมากสามารถดูตัวอย่างการใช้งานได้จาก Routing
  • Restful Controller สามารถกรองชนิดการส่งคำร้องขอจากฟอร์มทั้งแบบ Post, Get, Put/Patch, Delete
  • View Composer ส่วนของ Code HTML ที่นำมาเรียงติดต่อกัน และจะทำงาน หลังจากประกอบกันเสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่นเราแบ่งส่วน header, container, footer และนำมาเรียกใช้ต่อกันภายหลังเป็นต้น

ที่มา : https://medium.com/@yodsawatse/ทำความรู้จักกับ-laravel-framework-กัน-34e8d39cb254

ติดตั้ง

ติดตั้งผ่าน Composer หากยังไม่ได้ลง Composer ดูลิ้งค์นี้

เข้าไปใน Folder ที่ต้องการติดตั้ง เช่น D:\xampp\htdocs เป็นต้น
กด Shift+คลิกขวา
แล้วเลือก Open PowerShell window hear พิมพ์คำส่งด้านล่างแล้วกด Enter

เข้าดูเว็บไซต์

http://localhost/project_name/public/

หรือ ดูผ่าน artisan serve โดยรันคำสั่งด้านล่าง

จากนั้นเข้าผ่านลิ้งค์ http://127.0.0.1:8000/

Config

เช่น กำหนดการเชื่อมต่อฐานข้อมูล และอื่นๆ เข้าไปแก้ไข ที่ไฟล์ project_name/.env

เปิดใช้งาน Registration ,Login ,Authentication ,Password Resets

*ให้ทำการกำหนดการเชื่อมต่อ DB ในหัวข้อ Config ก่อน

Laravel >= 6

Laravel < 6

จากนั้นจะมีลิ้งค์ให้ Login,Register

ดเพิ่มเติม https://laravel.com/docs/master/authentication

หากเกิด error

ให้เข้าไปแก้ไขในไฟล์

database/migrations/2014_10_12_000000_create_users_table.php
database/migrations/2014_10_12_100000_create_password_resets_table.php

เปลี่ยนจาก

มาเป็น

เปลี่ยนจาก

มาเป็น

จากนั้นทำการลบตารางใน users, password_resets ล้างข้อมูลใน migrations, failed_jobs และทำการรันทำสั่ง php artisan migrate ใหม่

นำ Bootstrap มาใช้

ดาวน์โหลด Bootstrap มาใว้ใน Folder public/vendor/bootstrap ตามรูปด้านล่าง

จากนั้นเข้าไปกำหนดค่า template ของระบบเราในไฟล์ resources/views/layouts/app.blade.php

นำ AdminLTE Template มาใช้กับ Laravel

  • ดาวน์โหลด AdminLTE ได้จากลิ้งค์นี้ https://github.com/colorlibhq/AdminLTE  มาใว้ใน Folder public/

  • Copy ไฟล์ public/adminlte/starter.html มาใว้ใน resources/views/layouts/ และเปลี่ยนชื่อไฟล์เป็น main_template.blade.php  จากนั้นแก้ไขโค๊ดในส่วนที่ดึงไฟล์ .css, .js ตามตัวอย่างด้านล่าง
    resources/views/layouts/main_template.blade.php
  • สร้างไฟล์  resources/views/layouts/header.blade.php
  • สร้างไฟล์ resources/views/layouts/sidebar.blade.php
  • สร้างไฟล์ resources/views/layouts/footer.blade.php

  • จากนั้นแก้ไขไฟล์ resources/views/layouts/main_template.blade.php


     
  • ทดสอบกับหน้า home แก้ไขไฟล์ resources/views/home.blade.php

ดูเพิ่มเติม https://adminlte.io/blog/integrate-adminlte-with-laravel

 


ป้ายกำกับ:, , , ,